Description
Complete Java Programming
พิเศษ คอร์สเรียนเดียวที่จะให้คุณได้มากกว่าด้วย
“ระบบแบบทดสอบปฏิบัติการเขียนโปรแกรมออนไลน์”
ครบถ้วนเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วย Java ตั้งแต่ “ศูนย์ ถึง ร้อย”
ทดลองเรียนฟรี ลงทะเบียนตอนนี้ 1,990 ( รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม )
หลักสูตรถาวร
สามารถเข้าเรียนที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ได้ไม่จำกัด
สามารถทบทวนซ้ำไม่อั้น
เมื่อเรียนจบคอร์สแล้ว
แพคเกจเข้าใช้งานได้ไม่จำกัดอายุการใช้งาน
สำหรับการเรียนพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษา Java
Java
intellij
เพราะการเรียนรู้สนุกได้เสมอ
หมดยุคการเรียนรู้สุดน่าเบื่อ เพราะนี่คือโลกยุคใหม่แล้ว !
ให้ทุกการเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจให้คุณ
เพราะปัจจุบัน Java คือหนึ่งใน
ภาษาที่ได้รับความนิยมสูงสุด
ถ้าเปรียบว่าภาษาอังกฤษ คือ ภาษาที่สำคัญสำหรับการสื่อสารของโลกมนุษย์ ในโลกของคอมพิวเตอร์ก็คือ Java เช่นกัน โดยภาษา Java นั้นได้ถูกพัฒนาให้รองรับหลากหลายอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์พกพาบนระบบปฏิบัติการชื่อดังอย่าง Android, การพัฒนาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ (Desktop Application) ทั้งบน Windows Mac และ Linux หรือ การเขียนเว็บไซต์ก็สามารถใช้งาน Java ได้เช่นกัน และ รู้หรือไม่ ? ในปัจจุบันบนโลกมีอุปกรณ์ที่ทำงานด้วยภาษา Java มากถึง 16,000 ล้านเครื่อง
ทำไมต้องเรียนคอร์สนี้กับเรา ?
เพราะเรากล้าที่จะให้ได้มากกว่า “แค่คำว่าความรู้” แต่ยังสอดแทรกการลงมือปฏิบัติจริง พร้อมเทคนิคต่างๆ โดยภายในคอร์สเรียนนี้จะครอบคลุมเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนรู้ในระดับมหาวิทยาลัยทั้งหมด 1 ปี (ได้ทั้งความรู้การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น พร้อมทั้ง การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ) ระบบการเรียนการสอนเน้นความเป็นกันเอง โดยมีระบบการบรรยายแบบเป็นเรื่องเล่าที่ทำให้เห็นภาพ มากกว่าความรู้แบบการท่องจำ ซึ่งทำให้เกิดความรู้ที่ยั่งยืน
เพราะเรากล้าการันตีความสามารถของคุณด้วย borntoDev Certificate
ต้องขอบอกก่อนว่าที่นี่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเป็นตัวจริงเท่านั้น เพราะเรามีทั้งระบบแบบฝึกหัด และ โครงงานให้ทำพัฒนาทักษะจริง เมื่อผู้เรียนทำแบบทดสอบครบถ้วน รับทันที Verified Certificate จาก บริษัท บอร์นทูเดฟ จำกัด เพื่อการันตีความสามารถได้เลยทันที
ประหยัดเวลาเรียนรู้กว่าเดิม !
ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเตรียมตัว
เรียนรู้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้
หมดกังวลทุกข้อสงสัย
เรามีทีมงานคุณภาพที่พร้อมตอบทุกคำถาม
ที่คาใจระหว่างการเรียนรู้
ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่า 5 เท่า
เมื่อเทียบกับคอร์สเรียนนอกสถานที่
แถมยังเรียนทบทวนได้ทุกเมื่อ
ไปถึงจุดหมายได้เร็วกว่า !
โปรเจคสุดพิเศษที่พร้อมพัฒนา
กระบวนการคิดจนถึงจินตนาการ
เพราะเราเน้นประสบการณ์ผู้เรียนเป็นหลัก ทำให้คุณได้รับความรู้
ความเข้าใจตั้งแต่บทเรียนแรก และ เข้าใจภาพรวม สามารถปฏิบัติได้จริงในทุกคอร์สเรียน
- Lecture 0 : แนะนำบทเรียนเบื้องต้นเกี่ยวกับ Java
- Lecture 1 : ภาษา Java คืออะไร เราสามารถใช้งานเป็นอะไรได้บ้าง ?
- Lecture 2 : ประวัติ Java ที่เราอาจไม่เคยรู้ !
- Lecture 3 : เตรียมเครื่องมือให้พร้อมก่อนออกรบ (เตรียมการติดตั้ง Java)
- Lecture 4 : หลักการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ฉบับเร่งรัด)
Section 1 หลักการเขียน Java เบื้องต้น
- Lecture 5 : โครงสร้างภาษา Java และ เริ่มพัฒนาโปรแกรมแรก
- Lecture 6 : ชนิดของข้อมูลของ Java
- Lecture 7 : ตัวแปรคืออะไร ? มาทำความรู้จักกัน
- Lecture 8 : ตัวดำเนินการ (Operator) คืออะไร
- Lecture 9 : เล่นแร่แปรธาตุ แปลงประเภทข้อมูลต่างๆ ง่ายนิดเดียว
- Lecture 10 : ฝึกลงมือปฏิบัติไปด้วยกัน # 1 พัฒนาโปรแกรมง่าย ๆ ด้วยข้อมูล
- Lecture 11 : อะไรคือ การนำเข้า และ ส่งออกข้อมูล (Input & Output)
- Lecture 12 : การใช้งานการนำเข้าข้อมูลใน Java
- Lecture 13 : การใช้งานการแสดงผลข้อมูลใน Java
- Lecture 14 : ทำไมต้อง import ? มาดูโครงสร้างของโปรแกรมกัน
- Lecture 15 : ฝึกลงมือปฏิบัติไปด้วยกัน # 2 แค่เพียง 15 ตอนก็เขียนโปรแกรมได้แล้ว !
- Lecture 16 : พามาดูวิธีทำโจทย์แบบ Input ได้
Section 3 การควบคุมการทำงานของโปรแกรม
- Lecture 17 : การใช้งานเงื่อนไขของโปรแกรมใน Java (If – else statement)
- Lecture 18 : การใช้งานเงื่อนไขแบบหลายทางเลือกใน Java
- Lecture 19 : การใช้งานรูปแบบเงื่อนไขซ้อนเงื่อนไข (Nested if)
- Lecture 20 : การกำหนดการทำงานด้วย Switch พร้อมลงมือปฏิบัติ (+ การเปรียบเทียบ String)
- Lecture 21 : การวนซ้ำ (Loop) ใน Java มีกี่ประเภท ?
- Lecture 22 : ขับวนไปค่ะ ! การใช้งานการวนซ้ำในรูปแบบ While
- Lecture 23 : ทำก่อนแล้วค่อยคิด ! ด้วยการวนซ้ำแบบ do..while
- Lecture 24 : วิ่งแก้บน ! การวนซ้ำแบบ for
- Lecture 25 : ชีวิตติด Loop ! วนซ้ำที่ไม่มีการสิ้นสุด และ คำสั่งในการหยุด
- Lecture 26 : ทบทวนการเชื่อมตรรกะด้วย “และ” กับ “หรือ”
Section 4 แนะนำให้รู้จักกับอาร์เรย์
- Lecture 27 : อาร์เรย์ (Array) คืออะไร ?
- Lecture 28 : การใช้งานอาร์เรย์แบบ 1 มิติ ใน Java
- Lecture 29 : การใช้งานอาร์เรย์มากกว่า 1 มิติใน Java
Section 5 แนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming)
- Lecture 30 : เรื่องเล่าของการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ
- Lecture 31 : มองภาพทุกอย่างให้เป็นวัตถุ (Object) ยิ่งขึ้น
- Lecture 32 : ลงมือสร้าง Class และ การใช้งาน Object + การเชื่อมโยงตัวแปรกับค่าใน Memory
- Lecture 33 : เมธอด (Method) คืออะไร ? พร้อมปฏิบัติ
- Lecture 35 : คุณสมบัติพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
- Lecture 34 : ฟิลด์ (Field) คืออะไร ? พร้อมปฏิบัติ
- Lecture 36 : การห่อหุ้ม คืออะไร ? (Encapsulation)
- Lecture 37 : ลงมือปฏิบัติการห่อหุ้ม (Encapsulation) เฉพาะส่วนของ Get
- Lecture 38 : รู้จักกับ Parameter และ Argument พร้อมปฏิบัติ
- Lecture 39 : ลงมือปฏิบัติการ Encapsulation ในส่วนของ Set
- Lecture 40 : การสืบทอดคืออะไร ? (Inheritance)
- Lecture 41 : ลงมือปฏิบัติการสืบทอด (Inheritance)
- Lecture 42 : การมีได้หลายรูปแบบ (Polymorphism) คืออะไร
- Lecture 43 : ลงมือปฏิบัติการมีได้หลายรูปแบบ (Polymorphism)
- Lecture 44 : สรุปความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดเชิงวัตถุ
Section 6 หลักการเขียนโปรแกรมที่ดี และ ปรับปรุงการทำงานของโค๊ด
- Lecture 45 : รู้จักกับการปรับปรุง (Refactoring) โค๊ดของเรา
- Lecture 46 : รู้จักกับเทคนิค Inline Temp ในการปรับปรุงโค๊ด
- Lecture 47 : แทนที่ตัวแปร / ข้อมูลชั่วคราวด้วยการเรียกใช้งานแบบ Query
- Lecture 48 : แทนที่อะไรบางอย่างด้วยอัลกอริทึมก็ดีนะ (Substitute Algorithm)
- Lecture 49 : รู้จักกับคำว่า “Static” พร้อมลงมือปฏิบัติ
Section 7 อะไรคือ Constructor
- Lecture 50 : มารู้จักกับคำว่า Constructor กันเถอะ !
- Lecture 51 : การสร้างและใช้งาน Constructor
- Lecture 52 : การสร้าง Constructor แบบรับค่าได้ (Parameterized constructor)
- Lecture 53 : ทบทวนการ Override และ การ Overload
Section 8 เรียนรู้ที่จะผิดพลาดกับ Exception
- Lecture 54 : อะไรคือ Exception ?
- Lecture 55 : การดักจับ Exception ด้วย Try และ Catch
Section 9 รู้จักกับ Abstract และ Interface
- Lecture 56 : Abstraction คืออะไร ?
- Lecture 57 : ลงมือปฏิบัติ Abstraction
- Lecture 58 : Interface คืออะไร ?
- Lecture 59 : ลงมือปฏิบัติ Interface
Section 10 การเก็บข้อมูลในรูปแบบ Collection
- Lecture 60 : อะไรคือ Collection ? มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?
- Lecture 61 : การใช้งานอาร์เรย์ลิสต์ (ArrayList)
- Lecture 62 : การใช้งานเซท (Set)
- Lecture 63 : การใช้งานแมพ (Map)
Section 11 มาเขียนโปรแกรมแบบ GUI ด้วย Java Applet
- Lecture 64 : ทำไมต้องการเขียนโปรแกรมแบบ GUI แล้วมันคืออะไร ?
- Lecture 65 : เริ่มต้นพัฒนาโปรแกรมแบบ GUI ด้วยการออกแบบเบื้องต้น
- Lecture 66 : การเขียนโปรแกรมแบบเหตุการณ์ (Event Driven Programming)
Section 12 การเขียนโปรแกรมแบบ Multi threading คืออะไร
- Lecture 67 : อะไรคือการเขียนโปรแกรมแบบ Multi threading
- Lecture 68 : ลงมือปฏิบัติการเขียนโปรแกรมแบบ Multi threading
Section 13 ส่วนสุดท้ายก่อนจบบทเรียน
[Phase2] Section 1 การประยุกต์พัฒนาโปรแกรมรูปแบบ GUI
- Lecture : Special ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Phase 2
- Lecture 69 : โปรแกรมคำนวณภาษีในรูปแบบ GUI
- Lecture 70 : การทำโปรแกรมหลายหน้าจอ
- Lecture 71 : การส่งค่าข้ามฟอร์ม
[Phase2] Section 2 ทำโปรแกรมจัดการร้านหนังสือ (อย่างง่าย)
- Lecture 72 : เริ่มต้นวิเคราะห์โปรแกรมจัดการร้านหนังสือ (แบบอย่างง่าย)
- Lecture 73 : ลงมือพัฒนา Class ที่จำเป็นเบื้องต้นสำหรับโปรแกรม
- Lecture 74 : พัฒนาหน้าต่างสำหรับยืนยันบุคคลเข้าสู่ระบบ (Login)
- Lecture 75 : พัฒนาหน้าหลักของโปรแกรม
- Lecture 76 : พัฒนาส่วนหน้าการเพิ่มสินค้าในร้าน
- Lecture 77 : พัฒนาส่วนของการดูรายการสินค้าทั้งหมดจากตาราง
[Phase2] Section 3 พักครึ่งทาง มาลองเขียนโปรแกรมกันจริง ๆ เลย ! (Update ! เป็นในรูปแบบ GUI)
- Lecture 78 : เกริ่นนำการพัฒนาเกม Hang man
- Lecture 79 : การวางโครงสร้างเพื่อพัฒนาเกม Hangman
- Lecture 80 : การพัฒนาเกม Hangman ส่วนโครงสร้างกันต่อ
- Lecture 81 : จัดการหน้าตา GUI เบื้องต้นให้กับเกมของเรา !
[Phase2] Section 4 การพัฒนาโปรแกรมติดต่อฐานข้อมูลอย่างง่าย
- Lecture 82 : ประยุกต์เป็นโปรแกรมเขียนไฟล์
- Lecture 83 : ประยุกต์เป็นโปรแกรมอ่านไฟล์
- Lecture 84 : การเตรียมเครื่องมือสำหรับสร้างฐานข้อมูล
- Lecture 85 : สร้างตารางและฐานข้อมูลแรกของเรา
- Lecture 86 : การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล
- Lecture 87 : เพิ่มข้อมูลลงในฐานข้อมูล
- Lecture 88 : การลบข้อมูลจากฐานข้อมูล
- Lecture 89 : การ UPDATE ข้อมูลในฐานข้อมูล
- Lecture 90 : การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคำสั่งฐานข้อมูล
Section 12 การตั้งค่าก่อนทำการ Build ตัวงาน
- Lecture 107 : เรียนรู้การใช้งาน Build Setting
- Lecture 108 : จัดการเปลี่ยน Scene ด้วย Scene Manager
- Lecture 109 : จัดการหน้า Loading ระหว่างเปลี่ยนฉาก
- Lecture 110 : Workshop ครั้งที่ 6
- Lecture 111 : เรียนรู้การใช้งาน Player Setting
- Lecture 112 : การตั้งค่าตัวงานสำหรับใช้งานบน Android
Section 13 บทส่งท้าย Tip & Trick
- Lecture 113 : เริ่มต้น Build ผลงานของเรากัน!
- Lecture 114 : เทคนิคเพิ่มเติม และข้อควรระวังที่ควรรู้
- Lecture 115 : ของฝากสำหรับสาย Game Dev
คอร์สเรียนนี้เหมาะสำหรับ
- นักเรียน / นักศึกษา สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือ วิศวกรรมศาสตร์ - ผู้ที่ต้องการศึกษาต่อด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
สิ่งที่จะได้รับ
- ลงลึก ! ถึงทักษะการแก้ไขปัญหาเพื่อการพัฒนาโปรแกรม
- ลองทำ ! กับโจทย์ที่ช่วยพัฒนาทักษะขั้นเทพ
- สนุก ! กับแนวคิดใหม่ๆ ที่ทำให้เห็นว่าการเขียนโปรแกรมมีอะไรซ่อนอยู่
- ใช้งานได้จริง ! ไม่ใช่แค่เขียนโปรแกรม แต่สอนทำให้โปรแกรมมีคุณภาพ
- เพิ่มเกรดก็ได้ นำไปใช้จริงได้ก็ดี ! ออกแบบหลักสูตรเพื่อนักศึกษา และ ผู้พัฒนาโปรแกรม
ชำระเงินครั้งเดียว ไม่จำกัดระยะเวลาการเรียน
คุ้มยิ่งกว่าคุ้ม ชำระเงินเพียงครั้งเดียวก็สามารถเข้าเรียนได้ไม่จำกัดระยะเวลา ทบทวนซ้ำได้ ไม่จำเป็นต้องรอเรียนพร้อมกัน แถมยังสามารถทำแบบฝึกหัด
และส่งโปรเจคให้ตรวจเพื่อรับ Verified Certificate ได้ภายใน 1 ปีอีกด้วย !
Chief Executive Officer (CEO)
Kittikorn Prasertsak (Prame)
จากนักศึกษาเกียรตินิยมอันดับ 1 สู่ผู้ก่อตั้ง BorntoDev ที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี โดยเน้นการถ่ายทอดที่เข้าใจง่ายจนมีผู้เรียนมากกว่า 7 หมื่นท่านทั่วประเทศ ด้วยประสบการณ์และความหลงไหลในการพัฒนาโปรแกรมมากกว่า 10 ปี และได้รับ Verified Certificate จาก Massachusetts Institute of Technology (MIT)
รวมถึงการเป็นวิทยากรรับเชิญด้านการให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีระดับ นิสิต นักศึกษา นักพัฒนาซอฟต์แวร์ทั่วไป นักเรียน ครูโรงเรียนมัธยมปลาย รวมถึงบุคคลทั่วไปทั้งภาครัฐและเอกชน
เริ่มต้นจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ สร้างผลงานไปพร้อมกันกับผู้เรียนกว่า 1 แสนคนได้เลย
ทดลองเรียนฟรี ลงทะเบียนตอนนี้ 1,990 ( รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม )