Section 1 เริ่มต้นกับคำถาม
- Lecture 1 : คอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 2 : การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
- Lecture 3 : โปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 4 : โอกาสสำหรับการศึกษาการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 5 : หลักการทำงานพื้นฐานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 6 : เรียนรู้หลักการแก้ไขปัญหาเพื่อปรับกระบวนการคิด
- Exercise 1 : เรียนรู้พื้นฐานกระบวนการคิดด้วย Code.org
Section 2 แนะนำการเริ่มต้นกับ Python 3
- Lecture 7 : แนะนำภาษา Python 3 ให้ได้รู้จัก
- Lecture 8 : หลักการทำงานที่แตกต่างของ Python
- Lecture 9 : จุดเด่น และ ข้อสังเกตของ Python 3
Section 3 รู้จักเครื่องมือสำหรับการพัฒนา Python 3
- Lecture 10 : รู้จัก และ ติดตั้ง PyCharm สำหรับพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 11 : ทดสอบการพัฒนาโปรแกรมแรกด้วยภาษา Python 3
- Lecture 12 : รู้จัก และ ใช้งาน Jupyter Notebook
- Lecture 13 : การแสดงผลรูปแบบต่าง ๆ ใน Python
- Exercise 2 : ทบทวนพื้นฐานการทำงานของ Python 3
Section 4 ทำความรู้จักกับข้อมูล และ การแสดงผลข้อมูล
- Lecture 14 : ข้อมูลคืออะไร ? ทำไมถึงสำคัญ ?
- Lecture 15 : ประเภทของข้อมูลในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 16 : การแสดงผลข้อมูลกับภาษา Python 3
- Lecture 17 : การใช้งานข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer)
- Lecture 18 : การใช้งานข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float)
- Lecture 19 : การใช้งานข้อมูลที่เป็นจำนวนเชิงซ้อน (Complex)
- Lecture 20 : การใช้งานข้อมูลเชิงตรรกะ (Boolean)
- Lecture 21 : การใช้งานข้อมูลสายอักขระ (String)
- Lecture 22 : การผสมระหว่างข้อมูลชนิดต่าง ๆ
- Exercise 3 : แบบฝึกหัดด้านข้อมูลกับภาษา Python
Section 5 รู้จักกับตัวแปร และ ตัวดำเนินการ
- Lecture 23 : ตัวแปรในการเขียนโปรแกรม และ คณิตศาสตร์
- Lecture 24 : การใช้งานตัวแปรในภาษา Python 3
- Exercise 4 : ปฏิบัติการทดสอบการใช้งานตัวแปร
- Lecture 25: ตัวดำเนินการคืออะไร ?
- Lecture 26 : ลำดับของตัวดำเนินการคืออะไร ?
- Lecture 27 : การใช้งานตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
- Lecture 28 : การใช้งานตัวดำเนินการทางตรรกะ
- Lecture 29 : การใช้งานตัวดำเนินการแบบ Assignment operator
- Lecture 30 : รู้จักกับการรับ Input จากผู้ใช้งานเพื่อความแตกต่าง
- Lecture 31 : การแปลงประเภทข้อมูล
- Lecture 32 : การใช้งานคำสั่ง Input เพื่อรับค่าจากผู้ใช้
- Lecture 33 : การประยุกต์ใช้งาน Input กับ โปรแกรมที่ใช้งานจริง
- Exercise 5 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้งานได้จริง และ ข้อมูล
Section 6 ลำดับการทำงาน และ การตัดสินใจของโปรแกรม
- Lecture 34 : เรียนรู้ลำดับการทำงานของโปรแกรมใหม่ !
- Lecture 35 : การตัดสินใจในโปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 36 : การตัดสินใจในภาษา Python 3 (if else Condition)
- Lecture 37 : ตัวอย่างการใช้งานการตัดสินใจใน Python 3
- Exercise 6 : แบบฝึกหัดการตัดสินใจเบื้องต้น
- Lecture 38 : การตัดสินใจในรูปแบบหลากหลายเงื่อนไข (elif)
- Lecture 39 : ตัวอย่างการตัดสินใจหลากหลายเงื่อนไข
- Exercise 7 : แบบฝึกหัดการตัดสินใจแบบหลากหลายเงื่อนไข
- Lecture 40 : การใช้งานเงื่อนไขซ้อนเงื่อนไข (Nested Condition)
- Exercise 8 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมจริงบนเงื่อนไข
Section 7 รู้จักการทำงานแบบวนซ้ำในการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 41 : การวนซ้ำคืออะไร ? สำคัญยังไงในการสร้างโปรแกรม ?
- Lecture 42 : การวนซ้ำในบนเงื่อนไขการทำงาน (While)
- Lecture 43 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมวนซ้ำแบบ While
- Exercise 9 : แบบทดสอบการวนซ้ำแบบ While
- Lecture 44 : การวนซ้ำในแบบมีจำนวนรอบที่แน่นอน (For)
- Lecture 45 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมวนซ้ำแบบมีจำนวนรอบแน่นอน
- Exercise 10 : แบบทดสอบการวนซ้ำแบบ For
- Lecture 46 : การทำงานแบบการวนซ้ำที่ซ้อนกัน
- Lecture 47 : การใช้งาน Break และ Continue
- Lecture 48 : ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมแบบวนซ้ำ
- Exercise 11 : การพัฒนาโปรแกรมจริงที่ใช้งานวนซ้ำ
Section 8 รู้จักกับฟังก์ชัน
- Lecture 49 : ฟังก์ชันคืออะไร ? แล้วในโปรแกรมมันช่วยอะไร ?
- Lecture 50 : การสร้าง – ใช้งานฟังก์ชันในภาษา Python 3
- Lecture 51 : ฟังก์ชันรูปแบบที่มีการคืนค่ากลับ (Return) คืออะไร ?
- Lecture 52 : ปฏิบัติการสร้างฟังก์ชันที่มีการคืนค่ากลับ (1)
- Lecture 53 : ปฏิบัติการสร้างฟังก์ชันที่มีการคืนค่ากลับ (2)
- Lecture 54 : ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมรูปแบบฟังก์ชัน
- Lecture 55 : การใช้งานฟังก์ชันพื้นฐานคณิตศาสตร์ของ Python 3
- Exercise 12 : การพัฒนาโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
Section 9 รู้จักให้ลึกขึ้นกับ String
- Lecture 56 : จริง ๆ แล้ว String คืออะไร ?
- Lecture 57 : การพัฒนาโปรแกรมร่วมกับ String และ ตัวดำเนินการ
- Lecture 58 : การจัดรูปแบบ String และ การแสดงผล
- Lecture 58 : ฟังก์ชันเด็ดที่มีประโยชน์สำหรับ String #1
- Lecture 60 : ฟังก์ชันเด็ดที่มีประโยชน์สำหรับ String #2
- Exercise 13 : การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ประโยชน์ของ String
Section 10 รู้จักกับ Collection ประเภทต่าง ๆ
- Lecture 61 : ทำความรู้จักกับ Collection
- Lecture 62 : ข้อมูลแบบ List คืออะไร ?
- Lecture 63 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล List
- Lecture 64 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ List
- Exercise 14 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย List
- Lecture 65 : ข้อมูลแบบ Tuple คืออะไร ?
- Lecture 66 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Tuple
- Lecture 67 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Tuple
- Exercise 15 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Tuple
- Lecture 68 : ข้อมูลแบบ Dictionary คืออะไร ?
- Lecture 69 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Dictionary
- Lecture 70 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Dictionary
- Exercise 16 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Dictionary
- Lecture 71 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (1)
- Lecture 72 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (2)
- Lecture 73 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (3)
- Exercise 17 : ประยุกต์ด้วย Collection
- Lecture 74 : ข้อมูลแบบ Set คืออะไร ?
- Lecture 75 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Set
- Lecture 76 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Set
- Exercise 18 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Set