หลักสูตรออนไลน์สำหรับการเริ่มต้นสู่การเป็น
นักพัฒนาโปรแกรมตั้งแต่พื้นฐาน
เส้นทางที่ให้คุณก้าวสู่เรียนด้าน
Software Development
พัฒนาจากโปรเจคจริง
- เนื้อหาจัดเต็มกว่า 36 ชั่วโมง
ไม่รวมแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน - โปรเจคจบทุกหลักสูตร
หมดกังวลว่าจบไปแล้วทำไม่ได้ - Certificate โดย
borntoDev Academy
- ตอบทุกปัญหาบทเรียน
ใน borntoDev Community - เรียน ทบทวนซ้ำได้ไม่จำกัดเวลา
ย้อนกลับบทเรียนได้จนกว่าจะเป็น - แบ่งจ่ายสบาย ๆ ผ่านบัตรเครดิต
เพียง 659 บาท / 10 เดือน
6,590 ฿
11,760 ฿
ราคาโปรโมชันพิเศษ เข้าเรียนได้ไม่จำกัดเวลา
เฉพาะ 50 ท่านแรกเท่านั้น หรือ ภายในเดือนนี้
เริ่มด้วยพื้นฐานการเขียนโค้ด
ปูพื้นฐานอย่างจริงจัง กับหลักสูตร Programming for Everyone X
เริ่มด้วยพื้นฐานการเขียนโค้ด
ปูพื้นฐานอย่างจริงจัง ให้คุณเขียนโปรแกรมได้ก่อนพัฒนาเกม ที่ไม่ใช่เพียงการใช้โปรแกรมฉาบฉวย แต่จะได้ครบทุกพื้นฐานจริง ๆ !! ครบถ้วนกว่า 156 ตอนด้วยภาษา C#
เริ่มด้วยพื้นฐานการเขียนโค้ด
ปูพื้นฐานอย่างจริงจัง ให้คุณเขียนโปรแกรมได้ก่อนพัฒนาเกม ที่ไม่ใช่เพียงการใช้โปรแกรมฉาบฉวย แต่จะได้ครบทุกพื้นฐานจริง ๆ !! ครบถ้วนกว่า 156 ตอนด้วยภาษา C#
เริ่มด้วยพื้นฐานการเขียนโค้ด
ปูพื้นฐานอย่างจริงจัง ให้คุณเขียนโปรแกรมได้ก่อนพัฒนาเกม ที่ไม่ใช่เพียงการใช้โปรแกรมฉาบฉวย แต่จะได้ครบทุกพื้นฐานจริง ๆ !! ครบถ้วนกว่า 156 ตอนด้วยภาษา C#
เนื้อหาในหลักสูตรทั้งหมด
หัวข้อนับร้อยที่เตรียมพร้อมให้คุณได้เข้าเรียนเพื่อสู่เส้นทางที่ฝัน
ตั้งแต่พื้นฐานสู่การทำโปรเจคจริงของคุณเอง
Course 1 : Programming for Everyone X
- Lecture 0 โลกทั้งใบที่เต็มไปด้วยคอมพิวเตอร์
- Lecture 1 ทำความรู้จักกับระบบการทำงานภายในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 2 รู้จักกับคำว่า Algorithm
- Lecture 3 ส่วนประกอบของการทำงานภายในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 4 ทำความรู้จักกับ Software Development Life Cycle
- Lecture 5 เรียนรู้หลักการคิดเพื่อสู่เป้าหมายของเรา
Section 2 รู้จักกับ Google Sheet กับการคิดแบบคอมพิวเตอร์
- Lecture 6 รู้จักกับ Google Sheet ที่ช่วยให้งานง่ายขึ้น
- Lecture 7 การใช้งานพื้นฐานใน Google Sheet
- Lecture 8 การจัดทำ Format พื้นฐานใน Google Sheet
- Lecture 9 รู้จักกับประเภทของข้อมูลใน Spreadsheet
- Lecture 10 กำหนดการประมวลผลให้ Spreadsheet
- Lecture 11 รู้จักกับฟังก์ชัน และ การใช้งาน SUM() เพื่อให้ง่ายยิ่งขึ้น
- Lecture 12 โปรแกรมสำหรับหารค่าอาหารตูมเดียวจบ V1
- Lecture 13 โปรแกรม + – * / แบบง่าย ๆ ในทีเดียว
- Lecture 14 โปรแกรมสำหรับร้านค้าขนาดเล็ก V1
- Lecture 15 การกำหนดเงื่อนไขใน Google Sheet
- Lecture 16 ทำโปรแกรมคำนวณเกรดแบบง่ายด้วย Google Sheet
- Lecture 17 สรุปความเข้าใจเบื้องต้นกับการใช้ IF
Section 3 รู้จักกับการทำงานขั้นสูงด้วย Google Sheet
- Lecture 18 รู้จักกับ Pivot Table ว่ามันคืออะไรกันนะ ?
- Lecture 19 ทดลองใช้ Pivot Table อย่างง่าย
- Lecture 20 รู้จักกับ Chart ใน Google Sheet
- Lecture 21 โปรแกรมสำหรับหารค่าอาหารตูมเดียวจบ V2
- Lecture 22 ทบทวนทักษะ Google Sheet กับการพัฒนาโปรแกรม
Section 4 รู้จักกับ Scratch
- Lecture 23 ทำความรู้จักกับโปรแกรม Scratch
- Lecture 24 โครงสร้างหน้าจอ Scratch
- Lecture 25 สร้างโปรแกรม Hello World ไปพร้อมกัน
- Lecture 26 รู้จักกับเหตุการณ์ในรูปแบบ Event Driven Programming
- Lecture 27 เรียนรู้ Concept การทำงานของโปรแกรมกับ Scratch
- Lecture 28 พัฒนาโปรแกรมแค่แสดงข้อความก็มาเป็นนิยายได้
- Lecture 29 รู้จักกับตัวดำเนินการใน Scratch
- Lecture 30 พัฒนาโปรแกรมทายเลขท้าย 2 ตัวบน Scratch
Section 5 พื้นฐานคำสั่งการกำหนดโปรแกรมใน Scratch
-
- Lecture 31 รู้จักกับคำว่า ตัวแปร ในการเขียนโปรแกรม
- Lecture 32 สร้างเกมสำหรับเล่าเรื่องราวบน Scratch
- Lecture 33 เพิ่มเสียงเพิ่มความสนุก
- Lecture 34 สร้างโปรแกรมช่วย บวก ลบ คูณ หาร
- Lecture 35 สร้างโปรแกรมสำหรับหารค่ากับข้าว
- Lecture 36 รู้จักกับคำว่าเงื่อนไขในการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 37 พัฒนาโปรแกรมแนะนำเมนูอาหาร
- Lecture 38 พัฒนาโปรแกรมคำนวณเกรด
- Lecture 39 พัฒนาโปรแกรมคำนวณ BMI
- Lecture 40 รู้จักกับการวนซ้ำในระบบคอมพิวเตอร์
- Lecture 41 พัฒนาโปรแกรมกับแอนิเมชัน
- Lecture 42 พัฒนาโปรแกรมตอบคำถามกับการวนซ้ำแบบมีเงื่อนไข
- Lecture 43 ทำโปรแกรมสำหรับ Login วนซ้ำไปตลอดกาล
- Lecture 44 รู้จักกับการสร้างบล็อคของตัวเอง
Section 6 การทำงานร่วมกับ Scratch เพื่อประสบการณ์การใช้งานขั้นสูง
- Lecture 45 พัฒนาการกระโดดให้กับตัวละคร
- Lecture 46 สร้างเกมกระโดดหลบสิ่งกีดขวาง
- Lecture 47 สร้างเกมเก็บลูกบอลสุดเทพ
- Lecture 48 สร้างเกมยิงปืนล่าปีศาจ Part 1
- Lecture 49 สร้างเกมยิงปืนล่าปีศาจ Part 2
- Lecture 50 ให้คุณลองสร้างด้วยตัวเอง !
Section 7 สิ่งประดิษฐ์สุดไฮเทคใน Microbit ด้วยพื้นฐาน Scratch
- Lecture 51 ทำความรุ้จักกับ Microbit ว่ามันคืออะไร ?
- Lecture 52 คำสั่งพื้นฐานใน Microbit เมื่อเทียบกับ Scratch
- Lecture 53 การแสดงผลออกจอ LCD บน Microbit (ป้ายไฟเกาหลี)
- Lecture 54 ทำโปรแกรมควบคู่กับปุ่มใน Microbit
- Lecture 55 ทำโปรแกรมจับโกหก (แบบโกหก)
- Lecture 56 ทำโปรแกรมทอยลูกเต๋าอย่างง่าย
- Lecture 57 ทำโปรแกรมเป่ายิงฉุบสนุกสุดๆ
- Lecture 58 สร้างอุปกรณ์เล่นเสียงต่อกับหูฟังโคตรเท่ !
- Lecture 59 ให้คุณลองสร้างด้วยตัวเอง 2 !
Section 8 พัฒนาให้กลายเป็นแอปพลิเคชันบนมือถือ Android กับ App Inventor
- Lecture 60 รู้จักกับ App Inventor
- Lecture 61 อธิบายส่วนต่าง ๆ บนหน้าจอของ App Inventor
- Lecture 62 เรียนรู้กับการสร้างแอปพลิเคชันแรกของเรา
- Lecture 63 ทบทวนการจัดการเหตุการณ์ Event Driven Programming
- Lecture 64 พัฒนาโปรแกรม Hello ชื่อของเรา
- Lecture 65 พัฒนาโปรแกรมคำนวณ BMI
- Lecture 66 พัฒนาโปรแกรมคำนวณเกรดสุดเจ๋ง
- Lecture 67 พัฒนาโปรแกรมหารค่ากับข้าว
- Lecture 68 เรียนรู้กับฟีเจอร์สุดเจ๋ง TTS
- Lecture 69 นำแอปพลิเคชันของเราออกมาติดตั้งในเครื่อง !
Section 9 แล้วการเขียนโค้ดจริง ๆ มันเป็นยังไง ? มาดูกัน
-
- Lecture 70 แล้วการเขียนโปรแกรมจริง ๆ มันเป็นยังไง ?
- Lecture 71 แนะนำการเขียนโปรแกรมด้วย Python 3 แบบง่ายสุด ๆ
- Lecture 72 การประยุกต์ใช้งานความรู้ทั้งหมดในคอร์สเรียน
- Lecture 73 การนำส่งโปรเจคทั้งหมดในคอร์สเรียนเพื่อรับ Certificate
Course 2 : Complete Python 3
- Lecture 1 : คอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 2 : การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
- Lecture 3 : โปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 4 : โอกาสสำหรับการศึกษาการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 5 : หลักการทำงานพื้นฐานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 6 : เรียนรู้หลักการแก้ไขปัญหาเพื่อปรับกระบวนการคิด
- Exercise 1 : เรียนรู้พื้นฐานกระบวนการคิดด้วย Code.org
Section 2 แนะนำการเริ่มต้นกับ Python 3
- Lecture 7 : แนะนำภาษา Python 3 ให้ได้รู้จัก
- Lecture 8 : หลักการทำงานที่แตกต่างของ Python
- Lecture 9 : จุดเด่น และ ข้อสังเกตของ Python 3
Section 3 รู้จักเครื่องมือสำหรับการพัฒนา Python 3
- Lecture 10 : รู้จัก และ ติดตั้ง PyCharm สำหรับพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 11 : ทดสอบการพัฒนาโปรแกรมแรกด้วยภาษา Python 3
- Lecture 12 : รู้จัก และ ใช้งาน Jupyter Notebook
- Lecture 13 : การแสดงผลรูปแบบต่าง ๆ ใน Python
- Exercise 2 : ทบทวนพื้นฐานการทำงานของ Python 3
Section 4 ทำความรู้จักกับข้อมูล และ การแสดงผลข้อมูล
- Lecture 14 : ข้อมูลคืออะไร ? ทำไมถึงสำคัญ ?
- Lecture 15 : ประเภทของข้อมูลในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- Lecture 16 : การแสดงผลข้อมูลกับภาษา Python 3
- Lecture 17 : การใช้งานข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer)
- Lecture 18 : การใช้งานข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float)
- Lecture 19 : การใช้งานข้อมูลที่เป็นจำนวนเชิงซ้อน (Complex)
- Lecture 20 : การใช้งานข้อมูลเชิงตรรกะ (Boolean)
- Lecture 21 : การใช้งานข้อมูลสายอักขระ (String)
- Lecture 22 : การผสมระหว่างข้อมูลชนิดต่าง ๆ
- Exercise 3 : แบบฝึกหัดด้านข้อมูลกับภาษา Python
Section 5 รู้จักกับตัวแปร และ ตัวดำเนินการ
- Lecture 23 : ตัวแปรในการเขียนโปรแกรม และ คณิตศาสตร์
- Lecture 24 : การใช้งานตัวแปรในภาษา Python 3
- Exercise 4 : ปฏิบัติการทดสอบการใช้งานตัวแปร
- Lecture 25: ตัวดำเนินการคืออะไร ?
- Lecture 26 : ลำดับของตัวดำเนินการคืออะไร ?
- Lecture 27 : การใช้งานตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
- Lecture 28 : การใช้งานตัวดำเนินการทางตรรกะ
- Lecture 29 : การใช้งานตัวดำเนินการแบบ Assignment operator
- Lecture 30 : รู้จักกับการรับ Input จากผู้ใช้งานเพื่อความแตกต่าง
- Lecture 31 : การแปลงประเภทข้อมูล
- Lecture 32 : การใช้งานคำสั่ง Input เพื่อรับค่าจากผู้ใช้
- Lecture 33 : การประยุกต์ใช้งาน Input กับ โปรแกรมที่ใช้งานจริง
- Exercise 5 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้งานได้จริง และ ข้อมูล
Section 6 ลำดับการทำงาน และ การตัดสินใจของโปรแกรม
- Lecture 34 : เรียนรู้ลำดับการทำงานของโปรแกรมใหม่ !
- Lecture 35 : การตัดสินใจในโปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ?
- Lecture 36 : การตัดสินใจในภาษา Python 3 (if else Condition)
- Lecture 37 : ตัวอย่างการใช้งานการตัดสินใจใน Python 3
- Exercise 6 : แบบฝึกหัดการตัดสินใจเบื้องต้น
- Lecture 38 : การตัดสินใจในรูปแบบหลากหลายเงื่อนไข (elif)
- Lecture 39 : ตัวอย่างการตัดสินใจหลากหลายเงื่อนไข
- Exercise 7 : แบบฝึกหัดการตัดสินใจแบบหลากหลายเงื่อนไข
- Lecture 40 : การใช้งานเงื่อนไขซ้อนเงื่อนไข (Nested Condition)
- Exercise 8 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมจริงบนเงื่อนไข
Section 7 รู้จักการทำงานแบบวนซ้ำในการพัฒนาโปรแกรม
- Lecture 41 : การวนซ้ำคืออะไร ? สำคัญยังไงในการสร้างโปรแกรม ?
- Lecture 42 : การวนซ้ำในบนเงื่อนไขการทำงาน (While)
- Lecture 43 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมวนซ้ำแบบ While
- Exercise 9 : แบบทดสอบการวนซ้ำแบบ While
- Lecture 44 : การวนซ้ำในแบบมีจำนวนรอบที่แน่นอน (For)
- Lecture 45 : ปฏิบัติการสร้างโปรแกรมวนซ้ำแบบมีจำนวนรอบแน่นอน
- Exercise 10 : แบบทดสอบการวนซ้ำแบบ For
- Lecture 46 : การทำงานแบบการวนซ้ำที่ซ้อนกัน
- Lecture 47 : การใช้งาน Break และ Continue
- Lecture 48 : ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมแบบวนซ้ำ
- Exercise 11 : การพัฒนาโปรแกรมจริงที่ใช้งานวนซ้ำ
Section 8 รู้จักกับฟังก์ชัน
- Lecture 49 : ฟังก์ชันคืออะไร ? แล้วในโปรแกรมมันช่วยอะไร ?
- Lecture 50 : การสร้าง – ใช้งานฟังก์ชันในภาษา Python 3
- Lecture 51 : ฟังก์ชันรูปแบบที่มีการคืนค่ากลับ (Return) คืออะไร ?
- Lecture 52 : ปฏิบัติการสร้างฟังก์ชันที่มีการคืนค่ากลับ (1)
- Lecture 53 : ปฏิบัติการสร้างฟังก์ชันที่มีการคืนค่ากลับ (2)
- Lecture 54 : ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมรูปแบบฟังก์ชัน
- Lecture 55 : การใช้งานฟังก์ชันพื้นฐานคณิตศาสตร์ของ Python 3
- Exercise 12 : การพัฒนาโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
Section 9 รู้จักให้ลึกขึ้นกับ String
- Lecture 56 : จริง ๆ แล้ว String คืออะไร ?
- Lecture 57 : การพัฒนาโปรแกรมร่วมกับ String และ ตัวดำเนินการ
- Lecture 58 : การจัดรูปแบบ String และ การแสดงผล
- Lecture 58 : ฟังก์ชันเด็ดที่มีประโยชน์สำหรับ String #1
- Lecture 60 : ฟังก์ชันเด็ดที่มีประโยชน์สำหรับ String #2
- Exercise 13 : การพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ประโยชน์ของ String
Section 10 รู้จักกับ Collection ประเภทต่าง ๆ
- Lecture 61 : ทำความรู้จักกับ Collection
- Lecture 62 : ข้อมูลแบบ List คืออะไร ?
- Lecture 63 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล List
- Lecture 64 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ List
- Exercise 14 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย List
- Lecture 65 : ข้อมูลแบบ Tuple คืออะไร ?
- Lecture 66 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Tuple
- Lecture 67 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Tuple
- Exercise 15 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Tuple
- Lecture 68 : ข้อมูลแบบ Dictionary คืออะไร ?
- Lecture 69 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Dictionary
- Lecture 70 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Dictionary
- Exercise 16 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Dictionary
- Lecture 71 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (1)
- Lecture 72 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (2)
- Lecture 73 : การนำ Collection ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน (3)
- Exercise 17 : ประยุกต์ด้วย Collection
- Lecture 74 : ข้อมูลแบบ Set คืออะไร ?
- Lecture 75 : ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยข้อมูล Set
- Lecture 76 : ฟังก์ชันที่สำคัญสำหรับ Set
- Exercise 18 : การพัฒนาโปรแกรมด้วย Set
Section 11 การจัดการข้อผิดพลาด
- Lecture 77 : ประเภทของข้อผิดพลาดที่ควรรู้
- Lecture 78 : ควรทำอย่างไรเมื่อเกิดข้อผิดพลาด !
- Lecture 79 : เรียนรู้ที่จะอยู่กับข้อผิดพลาด (Exception)
- Lecture 80 : ปฏิบัติการดักจับข้อผิดพลาดใน Python 3
- Lecture 81 : ปฏิบัติการดักจับข้อผิดพลาดแบบหลายรูปแบบ
- Lecture 82 : การใช้งานคำสั่ง Assert เพื่อตรวจหาข้อผิดพลาด
- Exercise 19 : เรียนรู้กับข้อผิดพลาด
Section 12 การอ่าน / เขียนไฟล์เพื่อเป็นโปรแกรมไม่รู้จบ
- Lecture 83 : ความสำคัญที่ซ่อนอยู่ของการอ่าน / เขียนไฟล์
- Lecture 84 : การอ่านไฟล์อย่างง่ายใน Python 3
- Lecture 85 : การเขียนไฟล์อย่างง่ายด้วย Python 3
- Lecture 86 : ทำความรู้จักกับไฟล์ CSV ว่ามันคืออะไร ?
- Lecture 87 : ทำการแปลงข้อมูล CSV
- Lecture 88 : ทำความรู้จักกับ JSON ข้อมูลยุคใหม่
- Lecture 89 : พัฒนาโปรแกรมอ่านข้อมูลรูปแบบ JSON
- Exercise 20 : เรียนรู้การอ่าน / เขียนไฟล์
Section 13 การพัฒนาโปรแกรมรูปแบบ GUI ด้วย tkinter
- Lecture 90 : การพัฒนาโปรแกรมรูปแบบ GUI ยุคใหม่
- Lecture 91 : พัฒนาโปรแกรม GUI ด้วย tkinter บน Python
- Lecture 92 : รู้จักกับ Widget และ ข้อมูลสำคัญของ tkinter
- Lecture 93 : โครงสร้างและคำสั่งสำหรับสร้าง Widget
- Lecture 94 : การจัดการ Layout ของ Widget
- Lecture 95 : กำหนดขนาดให้กับ Widget
- Lecture 96 : กำหนดสีให้กับ Widget
- Lecture 97 : จัดการรูปแบบตัวอักษรในโปรแกรม GUI
- Lecture 98 : การรับคำสั่งในรูปแบบ Event Driven Programming
- Lecture 99 : เริ่มต้นสร้างโปรแกรมที่ใช้งานได้จริงด้วย Python
- Exercise 21 : เรียนรู้การสร้างโปรแกรม GUI
Section 14 การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
- Lecture 100 : คำถามก่อนจะเริ่มต้น
- Lecture 101 : การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุคืออะไร ?
- Lecture 102 : 4 หัวใจของการพัฒนาโปรแรกมเชิงวัตถุ
- Lecture 103 : รู้จักกับ Class, Attribute, Behavior และ Object
- Lecture 104 : ลงมือปฏิบัติการ Class, Attribute, Behavior และ Object
- Exercise 22 : แบบทดสอบ Class, Attribute, Behavior และ Object
- Lecture 105: รู้จักกับการสืบทอดของโปรแกรม
- Exercise 23 : แบบทดสอบการสืบทอด
- Lecture 106 : การ Overriding คืออะไร ?
- Lecture 107 : วิธีการ Overriding ใน Python
- Exercise 24 : แบบทดสอบการ Overriding
- Lecture 108 : รู้จักเกี่ยวกับ Information Hiding
- Lecture 109 : ปฏิบัติการ Encapsulation
- Lecture 110 : ตัวอย่างการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ
- Exercise 25 : ทบทวนความเข้าใจของการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
Section 15 การพัฒนาต่อยอดกับ Library และ API ที่น่าสนใจ
- Lecture 111 : รู้จักกับ API ว่ามันคืออะไร ?
- Lecture 112 : การออกแบบโปรแกรมรูปแบบ API
- Lecture 113 : ปฏิบัติการใช้งาน API เพื่อดึงข้อมูลเข้ามายังโปรแกรมของเรา
- Lecture 114 : สร้างฐานข้อมูลแรกของเรา
Section 16 แนวทางการเขียนคำสั่งที่ดี
- Lecture 115 : ทำไมต้องสนใจ Coding Convention
- Lecture 116 : หลักการทำ Coding Convention – ตัวแปร
- Lecture 117 : หลักการทำ Coding Convention – ฟังก์ชัน
- Lecture 118 : หลักการทำ Coding Convention – การโปรแกรมเชิงวัตถุ
- Lecture 119 : หลักการทำ Coding Convention – การจัดการไฟล์
Section 17 การใช้งานฐานข้อมูล Firebase ด้วย Python
- Lecture 120 : ทำความรู้จักฐานข้อมูล
- Lecture 121 : ฐานข้อมูล Firebase สุดไฮเทค!
- Lecture 122 : มาเริ่มสร้างฐานข้อมูล Firebase
- Lecture 123 : เริ่มต้นเพิ่มข้อมูลแรกลงฐานข้อมูล
- Lecture 124 : เชื่อมต่อโปรแกรมของเราเข้ากับ Firebase
- Lecture 125 : การอ่านข้อมูลจาก Firebase
- Lecture 126 : การเพิ่มข้อมูลลง Firebase
- Lecture 127 : การ Update ข้อมูลใน Firebase
- Lecture 128 : การลบข้อมูลจาก Firebase
Section 18 แนวทางการต่อยอด
- Lecture 129 : การต่อยอดเป็นเว็บแอปพลิเคชัน
- Lecture 130 : การต่อยอดไปยัง Data Science / Analytic
- Lecture 131 : การต่อยอดเป็นการพัฒนาแอปพลิเคชัน
- Lecture 132 : การต่อยอดเป็นการพัฒนาเกมด้วย Python
- Lecture 133 : การต่อยอดสำหรับสาย Network และ Infrastructure
- Lecture 134 : การเริ่มต้นเป็นนักพัฒนาโปรแกรมที่ดี
- Lecture 135 : เส้นทางการก้าวสู่อาชีพ
Section 19 รายละเอียดโครงงาน
- Final Project : การเริ่มต้นพัฒนาโครงงานด้วย Python 3
Course 3 : Data Structure & Algorithm X
- Lecture 1 รู้จักกับ Data Structure
- Lecture 2 Array คืออะไร ?
- Lecture 3 หลักการทำงานภายใน Array
- Lecture 4 การใช้งาน Array ในภาษาซี
- Lecture 5 Array รูปแบบ 2 มิติ คืออะไร ?
- Lecture 6 การใช้งาน Array รูปแบบ 2 มิติ
- Lecture 7 รู้จักกับการใช้งาน Array แบบหลากหลายมิติ
- Lecture 8 เข้าใจ Array ด้วยโจทย์อย่างง่าย
- Lecture 9 โจทย์ฝึกทักษะ : คัดลอกค่าจาก Array ทำอย่างไร ?
- Lecture 10 โจทย์ฝึกทักษะ : รวมค่าทั้งหมดจาก Array ทำอย่างไร ?
- Lecture 11 โจทย์ฝึกทักษะ : สมาชิกซ้ำทั้งหมดกี่ตัวนะ ?
- Lecture 12 โจทย์ฝึกทักษะ : หาค่าเฉลี่ยของสมาชิกใน Array
Section 2 List และ Linked List
- Lecture 13 List คืออะไร ?
- Lecture 14 ฟังก์ชันการทำงานใน List มีอะไรบ้าง ?
- Lecutre 15 ตัวอย่างการเพิ่ม ลบ สมาชิกใน List ของภาษา C
- Lecture 16 ความแตกต่างระหว่าง List และ ArrayList ใน Java
- Lecture 16 การสร้าง ArrayList ด้วยภาษา Java
- Lecture 17 โจทย์ฝึกทักษะ : เพิ่มสมาชิกลงใน ArrayList
- Lecture 18 โจทย์ฝึกทักษะ : ลบสมาชิกใน ArrayList
- Lecture 19 โจทย์ฝึกทักษะ : ทำโปรแกรมรายการสินค้าด้วย ArrayList
- Lecture 20 รู้จักกับ LinkedList
- Lecture 21 ฟังก์ชันการทำงานใน LinkedList
- Lecture 22 สร้างและใช้งาน LinkedList ใน Java
- Lecture 23 โจทย์ฝึกทักษะ : ร้านหนังสือที่เราต้องอ่าน !
- Lecture 24 โจทย์ฝึกทักษะ :
- Lecture 25 การใช้งาน LinkedList ในภาษาซี
Section 3 รู้จักกับ Stack
- Lecture 26 Stack คืออะไร ?
- Lecture 27 ฟังก์ชันการทำงานภายในของ Stack
- Lecture 28 ทดสอบการใช้งาน Stack ในภาษา Java
- Lecture 29 การใช้งานฟังก์ชัน Push ของ Stack ใน Java
- Lecture 30 การใช้งานฟังก์ชัน Pop ของ Stack ใน Java
- Lecture 31 การใช้งาน Peek ของ Stack ใน Java
- Lecture 32 โจทย์ฝึกทักษะ : ค้นหาข้อมูลใน Stack ทำยังไง ?
Section 4 รู้จักกับ Queue
- Lecture 33 Queue คืออะไร ?
- Lecture 34 ฟังก์ชันการทำงานภายในของ Queue
- Lecture 35 ภาพหลักการทำงานของ Queue
- Lecture 36 การใช้งาน Queue ใน Java
- Lecture 37 การเพิ่ม ลบสมาชิกของ Queue
- Lecture 38 ฟังก์ชันที่จำเป็นสำหรับ Queue
- Lecture 39 โจทย์ฝึกทักษะ : การใช้งาน Queue เพื่อหาค่าเฉลี่ย
- Lecture 40 โจทย์ฝึกทักษะ : การรับบริการเพื่อเข้า Queue ในระบบ
Section 5 รู้จักกับ Graph
- Lecture 41 กราฟที่เราใช้ คือ Graph แบบเดียวกันไหม ?
- Lecture 42 รู้จักกับองค์ประกอบของ Graph และ ภาพการทำงาน
- Lecture 43 สร้าง Graph ด้วยภาษา Java
- Lecture 44 รู้จักกับการคำนวณระยะทางใน Graph
- Lecture 45 การหาระยะทางที่สั้นที่สุดของ Graph
- Lecture 46 โจทย์ฝึกทักษะ : เดินทางไปในกราฟด้วยตัวเอง
- Lecture 47 การเดินทางไปในกราฟแบบแนวกว้าง และ แนวลึก คืออะไร ?
- Lecture 48 ตัวอย่างการเดินทางแบบแนวกว้างด้วย Java
- Lecture 49 ตัวอย่างการเดินทางแบบแนวลึกด้วย Java
- Lecture 50 โจทย์สำหรับฝึกทักษะความเข้าใจของ Graph
Section 6 รู้จักกับ Tree
- Lecture 51 Tree คืออะไร ?
- Lecture 52 รู้จักกับองค์ประกอบของ Tree
- Lecture 53 ประเภทของ Tree มีอะไรบ้าง ?
- Lecture 54 ทำความรู้จักกับ Binary Tree
- Lecture 55 โครงสร้างข้อมูลแบบ Array based Binary Tree
- Lecture 56 โครวสร้างข้อมูลแบบ Pointer Based Binary Tree
- Lecture 57 การใช้งาน Tree ในภาษา Java
- Lecture 58 โจทย์ฝึกทักษะ : สร้าง Tree ในรูปแบบของเรา
- Lecture 59 การท่องไปใน Tree ด้วย Java
- Lecture 60 รู้จักกับ Binary Search Tree
- Lecture 61 การใช้งาน Binary Search Tree ใน Java
Section 7 รู้จักกับ Set
- Lecture 62 Set คืออะไร ?
- Lecture 63 ฟังก์ชันของ Set ในภาษา Java
- Lecture 64 การทำงานของ Set ด้วย Java
- Lecture 65 โจทย์ฝึกทักษะ : สุ่มอย่างไรให้ไม่ซ้ำแบบง่าย ๆ
- Lecture 66 โจทย์ฝึกทักษะ : เพิ่มข้อมูลลงไปใน Set ของเรา
Section 8 Sorting Algorithm หัวใจสำคัญของความเข้าใจเรื่องข้อมูล
- Lecture 67 Sorting Algorithm คืออะไร ?
- Lecture 68 รู้จักกับ Insertion Sort
- Lecture 69 เห็นภาพกันยิ่งขึ้นกับตัวอย่างการทำงาน Insertion Sort
- Lecture 70 การใช้ Insertion Sort ด้วย Java
- Lecture 71 รู้จักกับ Selection Sort
- Lecture 72 เห็นภาพกันยิ่งขึ้นกับตัวอย่างการทำงาน Selection Sort
- Lecture 73 การใช้ Selection Sort ด้วย Java
- Lecture 74 รู้จักกับ Bubble Sort
- Lecture 75 เห็นภาพกันยิ่งขึ้นกับตัวอย่างการทำงาน Bubble Sort
- Lecture 76 การใช้ Bubble Sort ด้วย Java
- Lecture 77 รู้จักกับ Merge Sort
- Lecture 78 เห็นภาพกันยิ่งขึ้นกับตัวอย่างการทำงาน Merge Sort
- Lecture 79 การใช้ Merge Sort ด้วย Java
- Lecture 80 ตัวอย่างการใช้งาน Sort รูปแบบต่าง ๆ ด้วย Java
Section 9 Look at Algorithms
- Lecture 81 เข้าใจการทำงานของ Algorithm ที่ดี
- Lecture 82 รู้จักกับ big O การวัดประสิทธิภาพของ Algorithm
- Lecture 83 การปรับปรุง Algorithm
- Lecture 84 ลักษณะการใช้งาน Algorithm เพื่อค้นหาข้อมูล
- Lecture 85 สรุปทุกความเข้าใจของ Data Structure and Algorithm X
Course 4 : Discrete Mathemetics for Programming
Introduction To Discrete Math
วางรากฐานให้เข้าใจแนวคิดของคณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง
Modular Arithmetic
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีจานวน ทบทวน ครน. หรม. จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ฟังก์ชันฟีออยเลอร์
Logic & Proof
ประพจน์และค่าความจริง ตัวปฏิบัติการตรรกะ สัจจะนิรันดร์และข้อขัดแย้ง การสมมูล ความสมเหตุสมผล การอ้างเหตุผล ตรรกศาตร์ภาคแสดง ตัวบ่งปริมาณ กฎแห่งการอนุมาน
Set, Relation And Function
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับเซต ความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชันที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาโปรแกรมอย่างยิ่ง !
Algorithm
เน้นการวิเคราะห์อัลกอริทึม และ Asymptotic Notation ที่ได้แก่เรื่องสำคัญอย่าง Big-O Big-Omega รวมถึง Big-Theta
Counting And Probability
การนับและความน่าจะเป็น หนึ่งในเรื่องที่ขาดไม่ได้ของคณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง สรุปมาให้คุณแล้วที่นี่ !
-
Graph And Tree
กราฟ รวมถึง แผนภาพต้นไม้ หนึ่งในเรื่องสำคัญที่สามารถประยุกต์ทั้งการคำนวณ รวมถึงออกแบบระบบด้วยแผนภาพได้อีกด้วย
-
ลำดับ อนุกรมและเมทริกซ์
เรื่องหลักในการจัดการข้อมูล การสังเกต และ ทฤษฏีเมทริกซ์ ที่เป็นเบื้องหลังของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งเรื่องกราฟิก การจัดเก็บข้อมูล เรียกว่าห้ามพลาด !
-
Induction And Recursion
การอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ และ Recursion สิ่งสำคัญที่ควรรู้ก่อนพัฒนาโปรแกรม ไม่พลาดทุกพื้นฐาน !
-
Automata
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าจะกำหนดให้เครื่องจักรทำงานเองได้อย่างไร ? Automata จะมาไขคำตอบให้เรารู้กัน !
ขอบคุณ
ทุกความไว้วางใจ
ในสังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี มีผู้คนทั้งจากในและต่างประเทศให้ความสนใจในการพัฒนาโปรแกรม
และ เข้ามาเรียนรู้กับเรา ทั้งภาครัฐ และ เอกชน รวมถึงนักพัฒนาซอฟต์แวร์อิสระ
2.5 แสน
ผู้เรียนกับเรา
7 ล้าน
การเข้าชมบทเรียน
500+
เนื้อหาทั้งหมด
13
คอร์สเรียนหลัก
ส่วนหนึ่งจากองค์กรชั้นนำที่ไว้วางใจพวกเรา
เราพร้อมให้บริการทั้งบุคคลทั่วไปที่สนใจ และ ลูกค้าในรูปแบบองค์กร
เพื่อจุดประกายทุกไอเดียในการพัฒนาเทคโนโลยี
เลือกลงทะเบียนแพคเกจที่ให้ความคุ้มค่าที่สุด
ให้คุณประหยัดได้กว่าครึ่งจากราคาปกติในการเดินเส้นทางนักพัฒนาแอปพลิเคชัน
ประหยัดเวลาเรียนรู้กว่าเดิม !
ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเตรียมตัว
เรียนรู้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้
หมดกังวลทุกข้อสงสัย
เรามีทีมงานคุณภาพที่พร้อมตอบทุกคำถาม
ที่คาใจระหว่างการเรียนรู้
ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่า 3 เท่า
เมื่อเทียบกับคอร์สเรียนนอกสถานที่
แถมยังเรียนทบทวนได้ทุกเมื่อ
ไปถึงจุดหมายได้เร็วกว่า !
โปรเจคสุดพิเศษที่พร้อมพัฒนา
กระบวนการคิดจนถึงจินตนาการ
Computer Science Starter Package
คอร์สเรียนหลัก 4 หลักสูตร
Programming for Everyone X
เริ่มต้นด้วยแนวคิดการพัฒนาโปรแรกม
Complete Python 3 Programming
เรียนเขียนโปรแกรมกับภาษาที่ฮิตที่สุด
Data Structure & Algorithm X
เข้าใจโครงสร้างข้อมูล และ ขั้นตอนวิธี
Discrete Mathematics for Programming
คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่องสำหรับเขียนโปรแกรม
คอร์สเรียนเสริม 2 หลักสูตร
Github from Beginner
พื้นฐานเครื่องมือการจัดการรุ่นโครงการ
Basic HTML5 & CSS3
พื้นฐานพัฒนาเว็บด้วย HTML5 & CSS3
Hot Deal ! โปรโมชันแรงทะลุโลก
11,760฿ 6,590฿ ประหยัด 40%
(จำกัด 50 ท่านแรกเท่านั้น)
เหลืออีก 38 สิทธิ์
เรารองรับการชำระเงินที่หลากหลายตามไลฟ์สไตล์ของคุณ
รองรับบัตรเครดิตผ่านระบบออนไลน์ที่มีความปลอดภัยสูงสุด (256 bit)
ไม่รู้จะเริ่มต้นจากตรงไหน ?
สามารถดูเส้นทางการศึกษาในรูปแบบของคุณ หรือ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญแบบส่วนตัวได้ทันที